สร้างเว็บEngine by iGetWeb.com
Cart รายการสินค้า (0)

พระโสดาบันเป็นใคร..?

พระโสดาบันเป็นใคร..?

พระ โสดาบัน เป็น ใคร

( นัย ที่ หนึ่ง )
ภิกษุ ท . ! สาวก ของ พระ อริย เจ้า ใน ธรรม วินัย นี้ เป็น ผู้ ถึง พร้อม แล้ว
ด้วย ธรรม ๔ ประการ นี้เองจึงเป็นพระ โสดาบันผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
เที่ยงแท้ต่อพระนิพพานเป็นผู้มีอันจะตรัสรู้ธรรมได้ ในกาลเบื้องหน้า .

ธรรม ๔ ประการนั้นเป็นอย่างไร ? สี่ ประการ นั้น คือ :

( ๑ ) ภิกษุ ท . ! สาวก ของ พระ อริย เจ้า ใน ธรรม วินัย นี้ เป็น ผู้ ประกอบ
พร้อม แล้ว ด้วย ความ เลื่อม ใส อัน หยั่ง ลง มั่น ไม่ หวั่น ไหว ใน องค์ พระพุทธเจ้า
ว่า เพราะ เหตุ อย่าง นี้ ๆ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า นั้น เป็น ผู้ ไกล จาก กิเลส ตรัสรู้ ชอบ
ได้ โดย พระองค์ เอง เป็น ผู้ ถึง พร้อม ด้วย วิชชา และ ข้อ ปฏิบัติ ให้ ถึง วิชชา เป็น ผู้ ไป
แล้ว ด้วย ดี เป็น ผู้ รู้ โลก อย่าง แจ่ม แจ้ง เป็น ผู้ สามารถ ฝึก คนที่ ควร ฝึก ได้ อย่าง ไม่มี
ใคร ยิ่ง กว่า เป็น ครู ของ เทวดา และ มนุษย์ ทั้ง หลาย เป็น ผู้ รู้ ผู้ ตื่น ผู้ เบิก บาน ด้วย
ธรรม เป็น ผู้ มี ความ จำเริญ จำแนก ธรรม สั่ง สอน สัตว์ ดังนี้ .

( ๒ ) ภิกษุ ท . ! สาวก ของ พระ อริย เจ้า ใน ธรรม วินัย นี้ เป็น ผู้ ประกอบ
พร้อม แล้ว ด้วย ความ เลื่อม ใส อัน หยั่ง ลง มั่น ไมห่ วั่นไ หว ในอ งค์ พระธ รรม
ว่า พระ ธรรม เป็น สิ่ง ที่ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า ตรัส ไว้ ดีแล้ว , เป็น สิ่ง ที่ ผู้ ศึกษา และ
ปฏิบัติ พึง เห็น ได้ ด้วย ตนเอง , เป็น สิ่ง ที่ ปฏิบัติ ได้ และ ให้ ผล ได้ ไม่ จำกัด กาล , เป็น
สิ่ง ที่ ควร กล่าว กะ ผู้ อื่น ว่า ท่าน จง มา ดูเถิด , เป็น สิ่ง ที่ ควร น้อม เข้า มา ใส่ ตัว , เป็น สิ่ง
ที่ ผู้ รู้ ก็ รู้ ได้ เฉพาะ ตน ดังนี้ .


( ๓ ) ภิกษุ ท . ! สาวก ของ พระ อริย เจ้า ใน ธรรม วินัย นี้ เป็น ผู้ ประกอบ
พร้อม แล้ว ด้วย ความ เลื่อม ใส อัน หยั่ง ลง มั่น ไม่ หวั่น ไหว ใน พระ สงฆ์ ว่า

สงฆ์สาวก ของ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า เป็น ผู้ ปฏิบัติ ดีแล้ว เป็น ผู้ ปฏิบัติ ตรง แล้ว เป็น ผู้
ปฏิบัติ ให้ รู้ ธรรม เครื่อง ออก จาก ทุกข์ แล้ว เป็น ผู้ ปฏิบัติ สมควร แล้ว อัน ได้แก่ บุคคล
เหล่า นี้ คือ คู่ แห่ง บุรุษ สี่ คู่ นับ เรียง ตัว ได้ แปด บุรุษ . นั่น แหละ คือ สงฆ์ สาวก ของ
พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า เป็น สงฆ์ ควร แก่ สัก การะ ที่ เขา นำ มา บูชา เป็น สงฆ์ ควร แก่
สัก การะ ที่ เขา จัด ไว้ ต้อนรับ เป็น สงฆ์ ควร รับ ทักษิณา ทาน เป็น สงฆ์ ที่ บุคคล ทั่วไป
จะ พึง ทำ อัญชลี เป็น สงฆ์ ที่ เป็น นา บุญ ของ โลก ไม่มี นา บุญ อื่น ยิ่ง กว่า ดังนี้ .

( ๔ ) ภิกษุ ท . ! สาวก ของ พระ อริย เจ้า ใน ธรรม วินัย นี้ เป็น ผู้ ประกอบ
พร้อม แล้ว ด้วย ศีล ทั้ง หลาย ชนิด เป็น ที่ พอใจ ของ เหล่า อริย เจ้า : เป็น ศีล ที่
ไม่ ขาด ไม่ ทะลุ ไม่ ด่าง ไม่ พร้อย เป็น ศีล ที่ เป็น ไท จาก ตัณหา เป็น ศีล ที่ ผู้ รู้ ท่าน
สรรเสริญ เป็น ศีล ที่ ทิฏฐิ ไม่ ลูบคลำ และ เป็น ศีล ที่ เป็น ไป เพื่อ สมาธิ ดังนี้ .

 
ภิกษุ ท . ! สาวก ของ พระ อริย เจ้า ผู้ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย ธรรม ๔
ประการ นี้ แล ชื่อ ว่า เป็น พระ โสดา บัน ผู้ มี อัน ไม่ ตกต่ำ เป็น ธรรมดา เที่ยง แท้ ต่อ
พระ นิพพาน เป็น ผู้ มี อัน จะ ตรัสรู้ ธรรม ได้ ใน กาล เบื้อง หน้า .

 

 
( นัย ที่ สอง )
อย่า กลัว เลย มหา นาม ! อย่า กลัว เลย มหา นาม ! ความ ตาย ของ
ท่าน จัก ไม่ ต่ำ ทราม กาลกิริยา ของ ท่าน จัก ไม่ ต่ำ ทราม . มหา นาม ! อริย สาวก
ผู้ ประกอบ ด้วย ธรรม ๔ ประการ ย่อม เป็น ผู้ มี ปกติ น้อม ไป ใน นิพพาน โน้ม
ไป สู่ นิพพาน เอน ไป ทาง นิพพาน โดย แท้ .

ธรรม สี่ ประการ อย่างไร เล่า ? ธรรมสี่ ประการ คือ : -มหา นาม ! อริย สาวก ใน กรณี นี้

 
( ๑ ) เป็น ผู้ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย ความ เลื่อม ใส อัน ไม่ หวั่น ไหว ใน
พระพุทธเจ้า ว่า “ เพราะ เหตุ อย่าง นี้ ๆ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า นั้น เป็น ผู้ ไกล จาก
กิเลส ตรัสรู้ ชอบ ได้ โดย พระองค์ เอง เป็น ผู้ ถึง พร้อม ด้วย วิชชา และ ข้อ ปฏิบัติ ให้ ถึง
วิชชา เป็น ผู้ ไป แล้ว ด้วย ดี เป็น ผู้ รู้ โลก อย่าง แจ่ม แจ้ง เป็น ผู้ สามารถ ฝึก คน ที่ ควร
ฝึก ได้ อย่าง ไม่มี ใคร ยิ่ง กว่า เป็น ครู ผู้ สอน ของ เทวดา และ มนุษย์ ทั้ง หลาย เป็น ผู้
รู้ ผู้ ตื่น ผู้ เบิก บาน ด้วย ธรรม เป็น ผู้ มี ความ จำเริญ จำแนก ธรรม สั่ง สอน สัตว์ ”
ดังนี้ .
( ๒ ) เป็น ผู้ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย ความ เลื่อม ใส อัน ไม่ หวั่น ไหว
ใน พระ ธรรม ว่า “ พระ ธรรม เป็น สิ่ง ที่ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า ตรัส ไว้ ดีแล้ว เป็น สิ่ง
ตัว เป็น สิ่ง ที่ ผู้ รู้ ก็ รู้ ได้ เฉพาะ ตน ” ดังนี้ .
ที่ ผู้ ศึกษา และ ปฏิบัติ พึง เห็น ได้ ด้วย ตนเอง เป็น สิ่ง ที่ ปฏิบัติ ได้ และ ให้ ผล ได้ ไม่ จำกัด
กาล เป็น สิ่ง ที่ ควร กล่าว กะ ผู้ อื่น ว่า ท่าน จง มา ดูเถิด เป็น สิ่ง ที่ ควร น้อม เข้า มา ใส่
ตัว เป็น สิ่ง ที่ ผู้ รู้ ก็ รู้ ได้ เฉพาะ ตน ” ดังนี้


( ๓ ) เป็น ผู้ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย ความ เลื่อม ใส อัน ไม่ หวั่น ไหว
ใน พระ สงฆ์ ว่า “ สงฆ์ สาวก ของ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า เป็น ผู้ ปฏิบัติ ดีแล้ว เป็น ผู้
ปฏิบัติ ตรง แล้ว เป็น ผู้ ปฏิบัติ ให้ รู้ ธรรม เป็น เครื่อง ออก จาก ทุกข์ แล้ว เป็น ผู้ ปฏิบัติ
สมควร แล้ว อัน ได้แก่ บุคคล เหล่า นี้ คือ คู่ แห่ง บุรุษ สี่ คู่ นับ เรียง ตัว ได้ แปด บุรุษ
นั่น แหละ สงฆ์ สาวก ของ พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า เป็น สงฆ์ ควร แก่ สัก การะ ที่ เขา นำ มา
บูชา เป็น สงฆ์ ควร แก่ สัก การะ ที่ เขา จัด ไว้ ต้อนรับ เป็น สงฆ์ ควร รับ ทักษิณา ทาน
เป็น สงฆ์ ที่ บุคคล ทั่วไป จะ พึง ทำ อัญชลี เป็น สงฆ์ ที่ เป็น นา บุญ ของ โลก ไม่มี นา บุญ
อื่น ยิ่ง กว่า ” ดังนี้ .
( ๔ ) เป็น ผู้ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย ศีล ทั้ง หลาย ชนิด เป็น ที่ พอใจ
ของ เหล่า พระ อริย เจ้า : เป็น ศีล ที่ ไม่ ขาด ไม่ ทะลุ ไม่ ด่าง ไม่ พร้อย เป็น ศีล ที่
เป็น ไท จาก ตัณหา เป็น ศีล ที่ ผู้ รู้ ท่าน สรรเสริญ เป็น ศีล ที่ ทิฏฐิ ไม่ ลูบคลำ และ เป็น
ศีล ที่ เป็น ไป พร้อม เพื่อ สมาธิ ดังนี้ .

 


มหา นาม ! เปรียบ เหมือน ต้นไม้ น้อม ไป ใน ทิศ ปราจีน โน้ม ไป สู่ ทิศ ปราจีน
เอน ไป ทาง ทิศ ปราจีน . ต้นไม้ นั้น เมื่อ เขา ตัด ที่ โคน แล้ว มัน จะ ล้ม ไป ทาง ไหน ?
“ มัน จะ ล้ม ไป ทาง ทิศ ที่ มัน น้อม ไป โน้ม ไป เอน ไป พระเจ้า ข้า ! ” มหา นาม ! ฉันใด
ก็ ฉัน นั้น : อริย สาวก ประกอบ แล้ว ด้วย ธรรม สี่ ประการ เหล่า นี้ ย่อม เป็น ผู้ มี ปรกติ
น้อม ไป ใน นิพพาน โน้ม ไป สู่ นิพพาน เอน ไป ทาง นิพพาน โดย แท้ แล .

 


ที่มา: มหา วาร . สํ . ๑๙ / ๔๖๕ - ๔๖๖ / ๑๕๑๑ - ๑๕๑๒ .

พระโสดาบันประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย อริย มรรค มี องค์ แปด
สา รี บุตร ! ที่ มัก กล่าว กัน ว่า โสดา บัน - โสดา บัน ดังนี้ เป็น อย่างไร เล่า
สา รี บุตร ?
“ ข้า แต่ พระองค์ ผู้ เจริญ ! ท่าน ผู้ ใด เป็น ผู้ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย อริย
มรรค มี องค์ แปด นี้ อยู่ ผู้ เช่น นั้นแล ข้า พระองค์ เรียก ว่า เป็น พระ โสดา บัน ผู้ มีชื่อ
อย่าง นี้ๆ มี โคตร อย่าง นี้ ๆ พระเจ้า ข้า ! ”
สา รี บุตร ! ถูก แล้ว ถูก แล้ว ผู้ ที่ ประกอบ พร้อม แล้ว ด้วย อริย มรรค
มี องค์ แปด นี้ อยู่ ถึง เรา เอง ก็ เรียก ผู้ เช่น นั้น ว่า เป็น พระ โสดา บัน ผู้ มีชื่อ อย่าง
นี้ ๆ มี โคตร อย่าง นี้ ๆ .


ที่มา: มหา วาร . สํ . ๑๙ / ๔๓๕ / ๑๔๓๒ - ๑๔๓๓

 

view