๒๑ ธ.ค.๒๕๕๗
ที่หมาย แม้จะไกลแส
เมื่อเดิน ย่อมได้ระย
จงรีบเร่ง อย่างช้าๆ
อย่าปล่อย เวลาให้หมด
(จงรีบเร่งอย่างช้าๆ อย่าปล่อยเวลาให้หมดไป หมายถึง ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง ไม่ร้อนรนกระวนกระวาย)

๑ เม.ย.๒๕๕๖
เหนื่อยนักพักเสียบ้างจะเป็นไร
หนทางชีวิตยังอีกยาวไกล จะรีบไปไหน
ถึงแล้วจะไปไหนต่อล่ะ มันก็มีทางไปของมันเรื่อยๆ
จงสบายระหว่างเดินทาง อย่ามัวไปคิดว่า ถึงแล้วจะสบาย
จะได้สุขสบายตลอดไป




เสียของ...อย่าเสียใจ...
เสียอะไร...อย่าใจเสีย...
เสียแล้วก็เสียไป...ไม่เสียใจกับของเสีย ...
ของเสียไม่เป็นไร...ถึงอย่างไรใจไม่เสีย


"เมื่อไร ที่ไหน ไม่รู้"
เราไม่รู้ว่าลมหายใจของเรา จะหมดลงเมื่อไรและที่ไหน...
เรารู้ว่าเรามาแล้ว...อยู่จนถึงเวลานี้...อยู่ตรงนี้...
รู้ว่าอีกไม่นาน เวลาก็จะหมดลง...ที่นี่ก็อยู่ได้ไม่นาน...
อาศัยเขาแค่ชั่วคราว...ผู้ไม่ประมาท ย่อมสำรวมระวังจิต...
เฝ้ารักษาใจให้สงบระงับเป็นนิจ...เจริญกุศล ละอกุศล...
มีจิตอันตื่นอยู่ รู้อยู่ในปัจจุบันอารมณ์...ไม่อาลัยอาวรณ์พิลี้พิไล...
อาศัยธรรมเป็นเครื่องอยู่...มารย่อมลำบากที่จะวุ่นวายกับเรา...
ขอธรรมจงรักษาทุกท่าน

นั่นแหละสิ่งที่ต้องนำมาปฏิบัติให้เป็นธรรม ดังนั้นทุกอย่างในโลกเป็นเรื่องที่ต้องปฏิบัติให้เป็นธรรม
ธรรมจึงเป็นธรรมชาติ ธรรมดาของสิ่งทั้งหลาย



เช้าตื่นมายังจิตให้ผ่องใส.
ทุกๆสิ่งที่ผกผันผ่านเข้ามา


ความสงบของใจ เป็นผลของจิตที่ตั้งมั่น
จิตจะตั้งมั่น ต้องระลึกรู้
การระลึกรู้ ต้องอาศัยความรู้ทั่วพร้อม
ถึงจะเกิดทัศนะในธรรม พูดง่ายๆก็คือ
ความสงบ เป็นผลของสมาธิ สมาธิเกิดจากสติ
สติที่ประกอบด้วย สัมปชัญญะ
ย่อมนำพาให้เห็นภาวะธรรม


๒๑ ธ.ค.๒๕๕๖
ชีวิตมนุษย์นั้น ย่อมเดินไปตามทาง ที่เห็นอยู่
แต่น้อยคนนัก ที่จะเรียนรู้ ที่สุดของทางเดินชีวิต
ผู้มีปัญญา ย่อมเปิดทาง ที่ปิดอยู่
ย่อมดำเนินชีวิต อย่างมีคุณค่า




อารมณ์ ความคิด ความจำ
ความรู้สึกทั้งหลาย ที่ปรากฏขึ้น แล้วมันเป็นเช่นไร
เมื่อเข้าใจแล้ว ก็ไม่ต้องเสียเวลาไปเปลี่ยน
มันจะเปลี่ยน เพราะความรู้
เปลี่ยนความเห็น จากเห็นผิด เป็นเห็นถูก
เห็นว่า ทั้งหลายที่รู้นั้น เป็นอนิจจัง
(ไม่เที่ยง เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ไม่คงที่)
เป็นทุกข์ (สภาพที่มัน ทนอยู่ไม่ได้)
เป็นอนัตตา (ธรรมชาติทั้งหลายนั้น หาใช่ตัวตนที่แท้จริง)
เมื่อเห็นถูกแล้ว ความเห็นนี่แหละ จะทำให้อารมณ์
ความคิด ความจำ ความรู้สึกทั้งหลาย เป็นธรรม
เมื่อนั้น ธรรมย่อมรักษา จิตย่อมสละ ความยึดครอง
วางของหนัก ว่างจากเครื่องร้อยรัด ทั้งหลาย


๓ มิ.ย.๒๕๕๖
พาพระ เณร ศิษย์วัด เก็บกวาดบริเวณที่ก่อสร้างมณฑปปล่อยไว้นานก็รกมาก เหมือนใจคน
ถ้าไม่ดูแล เรื่องรกใจ มันก็เยอะ
ถึงเวลา จะให้มันเบาใจ มันก็ยาก
ภาวนาก็ลำบาก ต้องหมั่นดูแลใจ ให้ว่างเสมอๆ


ชีวิตที่พอดี


ศีล คือ อะไร ? รักษาที่ไหน ระวังกาย ระวังวาจา จริงๆแล้ว ต้องรักษาที่ใจ
ใจไม่สั่ง มันก็ไม่พูด ไม่ทำ ศีลก็ไม่ด่างพร้อย ตอนภาวนาอยู่ ศีลก็บริสุทธิ์
ภาวนาดูลม ดูกาย ดูใจ มันก็รู้อยู่ว่า จะทำอะไร ก็เลือกทำเอา
สติเป็นผู้กำกับ ความเห็นเป็นเรื่องที่แสดง เมื่อความเห็นตรง สติมั่นคง
ทางดำเนินก็ไปสู่ ทางสว่างนั่นเอง ลองทำดูน๊ะ เมื่อได้ลองเฝ้าดูตัวเองมาก
จะได้เห็นเรื่อง ของตัวเอง มากกว่า เรื่องนอกตัว
(ธรรมรักษา)


กัมมัสสะโกมหิ
กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ
กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ
เราเป็นผู้มีกรรมเป็นของๆตน
มีกรรมเป็นผู้ให้ผล,
มีกรรมเป็นแดนเกิด,
มีกรรมเป็นผู้ติดตาม,
มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย


"เรื่องของความอยาก"
ทุกคนมีความอยาก จึงรู้สึกว่าถ้าได้สนองความ
จะมีความสุข เมื่อพิจารณา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ก็จะเห็นว่า ความอยากของเรา มันไม่ยอมหยุดซักที
เราก็เลยต้องดิ้นรน สนองความอยากมาตลอด
แล้วเราก็ต้องทุกข์ ที่ต้องหวงและห่วง สิ่งที่ได้มา
ทุกข์ที่มันต้องจากเราไป เราจึงต้องทำความรู้จัก
ความอยาก รู้จักที่อยู่ของใจตัวเอง ความรู้เหล่านี้
ต้องอาศัยทั้งสติ สมาธิ และปัญญา เป็นเครื่องมือ
แต่ผู้ลงมือใช้ เครื่องมือนั้นคือ เรา นั่นเอง


การบวชนั้น ถึงเวลา ก็เป็นไปเอ
แต่ที่แน่ๆ ทำตรงที่เร
ค่อยๆฝึกเฝ้
จะได้มี สิ่งศักดิ์
เริ่มจาก คอยเฝ้าดูตั
เราอยู่กับ
เฉพาะตอนนั่
เวลาอื่นก็
เป็นเพียงค
เมื่อทำได้
จะพุทโธ ยุบหนอพองห
อย่าเปลี่ย
ก็ไปคว้าไม้


อย่าให้ศรั
มันเหมือน เรามีแก้วใ
แต่ถ้าเรา เขยิบแก้วไ
เราก็เติมสี
ถามต่อไปว่
แต่ก็ทำให้
หรืออะไรก็
คำภาวนา ก็จะถูกละไ
เหมือนความ
ความรู้สึก


มารย่อมไม่เห็น
ผู้มีจิตอันสงบอยู่




๑๒ พ.ย.๒๕๕๘
มีทั้งหมด ๓ ตอน ( ตอน ๑/๓)
หาให้เขาเก็บ...หาให้ตามที่เขาอยาก...
แล้วก็หมดเวลาไปวันหนึ่ง..และก็เป็นอย่างนี้ทุกวัน...
นึกคิดไปตามอุปนิสัยที่สั่งสมไว้...
เคยชินอย่างไรก็ประพฤติอยู่เช่นนั้น...
วนเวียนเช่นนี้เหมือนอยู่ในวังวน...


๑๒ พ.ย.๒๕๕๘
มีทั้งหมด ๓ ตอน ( ตอน ๒/๓)
จนพานพบแสงแห่งธรรม...
ชี้นำตนให้เริ่มประพฤติปฏิบ
มีทาน ศีล ภาวนา เป็นต้น...
รู้จักมองตนด้วยอาศัยสติ...
รู้นึกรู้คิดว่าเป็นอนิจจัง
พินิจสิ่งทั้งหลายด้วยความเ


๑๒ พ.ย.๒๕๕๘
มีทั้งหมด ๓ ตอน ( ตอน ๓/๓)
รู้ว่าเรานั้
รู้ว่าสิ่ง
คิดทำพูดปร
เมื่อวันเว
ไปแล้วกลับ
ไปแล้วไม่ก


มีญาติโยมโทรมาเรียนปรึกษาเ
พอจ.(พระอาจารย์) : แล้วมีวิธีอื่นรักษาไหม?
โยม : ตอนนี้โยมกินยาสมุนไพร กินแล้วรู้สึกดีขึ้น
พอจ. : ดีแล้ว รักษาไปตามเหตุปัจจัย มันหายก็ดี มันไม่หายก็ตาย
เพราะยังไงมันก็ต้องตาย อยู่ที่ว่าจะช้าหรือเร็ว
เราเตรียมตัวอยู่ก็ถือว่าไม
โยม : ที่โทรมารบกวนก็ต้องการกำลั
พอจ : โยมอย่าคิดไปข้างหน้ามาก เอาตรงนี้แหละ
ใจอยู่ตรงนี้อย่างนี้ มันสบายก็รู้จัก มันทรมานก็รู้จัก
รู้ว่ามันเป็นของมันอย่างนั
โยม : ขอบพระคุณท่านมากค่ะ โยมต้องการฟังอย่างนี้
เท่านี้โยมก็พอใจแล้ว สาธุค่ะท่าน
พอจ : ขอธรรมจงรักษา ถ้าพ้นวิบากก็ดีใจด้วย
ถ้าไม่พ้น ก็ปฎิบัติไปตามธรรมที่เป็นจ


ชีพสิ้นแล้วธาตุลมหลีกลี้ก่
อีกธาตุร้อนคือไฟจากคลายหนี
อาโปธาตุน้ำนั้นไม่รอรี...
ทิ้งธรณีธาตุนี้คืนโลกา

๑ เม.ย.๒๕๕๗
ทุกอย่างในโลกตั้งอยู่ได้ ด้วยอาศัยความพอดี
มันพอดีอย่างไรนั้น มีหลายแง่มุม แต่ผลก็คือมันตั้งอยู่ได้
การดำเนินชีวิตก็เช่นเดียวกัน หากจะมีชีวิตให้ทุกข์ร้อนน้อย
ก็ต้องอาศัยหลัก "สมชีวิตา" ใช้ชีวิตพอเพียงให้พอดีตามฐานานุรูป
หากแม้นปรารถนา เข้าสู่กระแสแห่งธรรมนั้น ก็จงเดินสู่ความพอดี
แห่งจิตตน อันพึงมี สติ สมาธิ ปัญญา
ให้เป็นสหายซึ่งกันและกัน ไม่มากไม่น้อยจนเกินเหตุ


จงชนะใจตน


วันวานผ่าน
แต่เดี๋ยวนี้




ดวงจะขึ้นดวงจะลงเรื่องของด
แต่เหนือดวงคือเราไม่หวั่นไ
เรื่องจะดีหรือจะร้ายก็ว่าไ
เราเข้าใจเรื่องทั้งหลายด้ว
อันว่าเรื่องทั้งหลายในโลกน
อย่าสำคัญว่าจะอยู่มิรู้หาย
เมื่อผ่านพ้นเหมือนพยับแดดม
เรื่องทั้งหลายคงทรงหลัก "อนิจจัง








วางแล้ว ก็เบาสบาย ของเก่าเก็
จนไม่เหลือ
อยู่เป็นสุ


